นอกจากนี้ การเกิดขึ้นของวันคุ้มครองโลกก็มีส่วนกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเช่นกัน กฎหมายหลายฉบับในสหรัฐฯ ซึ่งรวมถึงรัฐบัญญัติน้ำสะอาดรัฐบัญญัติสิ่งมีชีวิตใกล้สูญพันธุ์ และการแก้ไขรัฐบัญญัติอากาศสะอาดในหลายจุดสำคัญ ได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาภายในไม่กี่ปีต่อมา กฎหมายเหล่านี้นำไปสู่การพัฒนาทางเทคโนโลยีด้านต่างๆเช่น ระบบบำบัดอากาศสำหรับฟอกก๊าซเสียจาก
โรงไฟฟ้า เป็นต้น

ถ้าเป็นเช่นนั้นทำไมเราจึงไม่ตั้งสมมุติฐานว่าทั้งทางเทคโนโลยีและทางนวัตกรรมทำนองเดียวกันสังคมจะช่วยให้เรารอดพ้นจากอนาคตอันทุกข์ยากเพราะภาวะโลกร้อน แน่นอน ฉันเชื่อว่าจะมีความก้าวหน้าสำคัญ ๆ หลายอย่างเกิดขึ้นตั้งแต่ตอนนี้จนถึงปี 2070
แต่โชคร้ายที่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นปัญหาที่แตกต่างออกไป คาร์บอนไดออกไซด์ล่องลอยอยู่ในบรรยากาศมานานนับร้อยปี หรือกระทั่งเป็นพันปีแล้ว ซึ่งหมายความว่าแม้เราจะเริ่มลดปริมาณการปล่อยตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศก็ยังจะดำเนินโลกจะร้อนขึ้นต่อไปเรื่อยๆต่อไปอยู่ดี พูดอีกนัยหนึ่งคือจนกว่าเราจะยุติการปล่อยคาร์บอนไดออกไชด์อย่างสิ้นเชิง

ระหว่างนี้เราจะยังไม่เผชิญกับผลกระทบเต็มรูปแบบของคาร์บอนไดออกไซด์ที่เราปล่อยไปแล้ว หลัก ๆแล้วเป็นเพราะมหาสมุทรอันกว้างใหญ่ไพศาลต้องใช้เวลานานกว่าจะร้อนขึ้นเพื่อตอบสนองต่อปริมาณคาร์บอนไดออกไชด์ที่เพิ่มชื้นในระดับหนึ่งอุณหภูมิเฉลี่ยทั่วโลกสูงขึ้นราวหนึ่งองศาเซลเชียสนับจากทศวรรษ 1880 เป็นต้นมาระบบต้องใช้เวสายาวนานกว่าที่ระดัคาร์บอนไดออกไซด์ที่เพิ่มขึ้นจะสอดคล้องกับอุณหภูมิแต่เนื่องจากเฉลี่ยที่สูงขึ้น นักวิทยาศาสตร์ประเมินว่า เราจะต้องเจอกับอุณหภูมิที่สูงขึ้นอีกราวครึ่งองศาเซลเชียสจึงจะเห็นผลกระทบของระดับคาร์บอนไดออกไชด์ในปัจจุบัน

อุณหภูมิจะสูงขึ้นอีกเท่าใด ก่อนที่การเปลี่ยนแปลงระดับหายนะจะเริ่มส่งผล(ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงระดับหายนะก็คือ หากพืดน้ำแข็งกรีนแลนด์ละลายไปจนหมดสิ้นระดับทะเลทั่วโลกจะสูงขึ้นราวหกเมตร) นักวิทยาศาสตร์เตือนว่า ขีดจำกัดน่าจะอยู่ที่เมื่อโลกร้อนขึ้นราวสององศาเซลเซียสเมื่อเทียบกับในยุคก่อนอุตสาหกรรม หรืออาจจะเพียงแค่ 1.5 องศาเนื่องจากอุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้นไปแล้วราวหนึ่งองศา และยังเหลืออีกครึ่งองศาที่ “จะต้องเจอ” จึงมั่นใจได้เลยว่าจะต้องเลย 1.5 องศาอย่างแน่นอน เพื่อรักษาอุณหภูมิให้อยู่ต่ำกว่าขีดจำกัดสององศาเซลเซียสให้ได้ การปล่อยคาร์บอนทั่วโลกจะต้องลดลงอย่างน้อยครึ่งหนึ่งในช่วงหลายสิบปีข้างหน้าเรื่องนี้เป็นไปได้ในทางทฤษฎี โครงสร้างพื้นฐานที่ชับเคลื่อนโดยพลังงานฟอสซิลจนกระทั่งเหลือศูนย์ในราวปี 2070กังหันลมและส่วนใหญ่

หรืออาจทั้งหมดในโลก อาจถูกแทนที่ด้วยโซลาร์เชลล์โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ในทางปฏิบัติ ความเฟื่องฟูในอุตสาหกรรมพลังงานลมและแสงอาทิตย์เพราะเรายังที่เกิดขึ้นอยู่ในขณะนี้ ยังไม่ส่งผลให้การใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลของเราลดลงเรียกร้องต้องการใช้พลังงานมากขึ้นเรื่อย ๆ และแม้ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะปรากฏชัดขึ้นเรื่อย ๆ การปล่อยคาร์บอนทั่วโลกยังคงเพิ่มสูงขึ้น ในปี 2019ปริมาณการปล่อยสูงจนทำลายสถิติอีกครั้งด้วยตัวเลข 43,100 ล้านตัน ในกรุงมาดริดเมื่อเดือนธันวาคมที่ผ่านมาการเจรจาตกลงว่าด้วยสภาพภูมิอากาศขององค์การสหประชาชาติจบลงด้วยความล้มเหลวอีกครั้ง หากแนวโน้มในปัจจุบันยังดำเนินต่อไปโลกในปี 2070 จะแตกต่างและอันตรายขึ้นมาก เป็นโลกที่อุทกภัย ภัยแล้ง ไฟป่า และอาจรวมถึงสถานการณ์ไม่สงบสืบเนื่องจากสภาพภูมิอากาศ จะบีบบังคับให้ผู้คนนับล้านต้องละทิ้งถิ่นฐานบ้านเกิด

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *